Category: ด้านสังคม

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ดำรงค์ สินไชย : ครูเกษตร ผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ดำรงค์ สินไชย : ครูเกษตร ผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น

ดำรงค์ สินไชย เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2495 ที่จังหวัดตรังเป็นบุตรคนโตของนายช้อยและนางฉั้นสินไชยจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จากโรงเรียนตรังวิทยามัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนวิเขียรมาตุชั้นมัธมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนเกษตรกรรมตรังประกาศนียบัตรครูมัธยมเกษตรกรรมจากวิทยาลัยเกษตรกรรมบางพระปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาสาสตร์ – เกษตร) และวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ ยกส้าน : นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของสภาวิจัยแห่งชาติ

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ ยกส้าน : นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของสภาวิจัยแห่งชาติ

เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม 2488 ที่จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 7 คนของนายยงจินต์ แล นางจุ้ยหิ้น ยกส้าน เจ้าศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนอนุกูลสตรีและมัธยมต้นจากโรงเรียนวิเชียรมาตุจังหวัดตรัง เข้าศึกษาต่อมัธยมตอนปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษากรุงเทพฯ ในระหว่างปี 2504-2506 ต่อจากนั้นสอบเข้าเรียนในคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ระหว่างปี 2506-2507

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-แสวง ภูศิริ : นักวิชาการเกษตร

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-แสวง ภูศิริ : นักวิชาการเกษตร

แสวง ภูศิริ นักวิชาการเกษตรจากลุ่มน้ำบางปะกงผู้มีสายเลือดแห่งความเป็นเกษตรกรอย่างแท้จริงยึดมั่นในความคิดว่าผู้มีความรู้ความสามารถด้านการเกษตรควรออกไปทำการเกษตรอย่างจริงจังทั้งนี้เพื่อใช้ความรู้เป็นแบบอย่างของชาวบ้านแนวคิดนี้ของเขาสามารถนำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจรังและได้ผล

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ขำ นุชิตศิริภัทรา : เกษตรกรดีเด่นจังหวัดตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ขำ นุชิตศิริภัทรา : เกษตรกรดีเด่นจังหวัดตรัง

นายขำ เกิดที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2482 บิดาชื่อนายเต็กหว่า แซ่หลีมารดาชื่อนางนะ แซ่หลี มีพี่น้องจำนาน 5 คน ภรรยาชื่อนางอังกาบ มีบุตรชาย 4 คนหญิง 1 คน เมื่ออายุได้ 8 ขวบก็ถูกส่งไปอยู่กับนายสีหมู่แซ่ภู่ผู้เป็นปู่หรือ“ก๋ง”ซึ่งเป็นเจ้าของสวนยางกว่า 200 ไร่ นายขำ ต้องตื่นแต่เช้าตรู่ไปเก็บเศษยางและเก็บน้ำยางจากต้นยางถึง 200 ต้น

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-สุรินทร์ โตทับเที่ยง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-สุรินทร์ โตทับเที่ยง

ช่วงปีพ.ศ. 2502 – 2503 เกิดวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ำ สุรินทร์ โตทับเที่ยง ได้มีโอกาสเดินทางเข้ากรุงเทพฯมีคนถามว่า“เมืองตรังอยู่ที่ไหน?” นั่นคือแรงบันดาลใจและที่มาของคำประกาศจากใจของยาสุรินทร์โตทับเที่ยงที่ว่า “ถ้าวันหนึ่งมีโอกาสท่จะช่วยสังคมได้ … จะทำให้เขารู้จักเมืองตรัง”

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-บู นวลศรี : ปราชญ์ชาวบ้านตรังเล

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-บู นวลศรี : ปราชญ์ชาวบ้านตรังเล

บ้านแหลมมะขาม อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง หมู่บ้านประมงพื้นบ้านแบบยังชีพได้ถูกกระแสประมงพาณิชย์เพื่อการส่งออกขับเคลื่อนเรืออวนลากอวนรุนและสารพัดเครื่องมือจับปลาแบบล้างผลาญเข้ามาทำการประมง ทุกชายหาดอ่าวบางคลองยังผลให้แนวหญ้าทะเลเขตน้ำตื้นแนวหินปะการังน้ำตื้น

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พิสิษฐ์ ชาญเสนาะ : นักพัฒนาองค์กรเอกชน นายกสมาคมหยาดฝนจังหวัดตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พิสิษฐ์ ชาญเสนาะ : นักพัฒนาองค์กรเอกชน นายกสมาคมหยาดฝนจังหวัดตรัง

พิสิษฐ์ ชาญเสนาะ เกิดวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๗ เริ่มทำงานด้านการพัฒนาชนบท หลังจากเรียนจบคณะเกษตรศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เริ่มทำงานกับมูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ในตำแหน่ง บูรณกร (Rural Worker) จังหวัดชัยนาท เป็นผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาชนบทหลายแห่ง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูสุทธิโสภณ (เอก สิรินธโย) : พระนักพัฒนาชุมชน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูสุทธิโสภณ (เอก สิรินธโย) : พระนักพัฒนาชุมชน

พระครูสุทธิโสภณ (เอก สิรินธโร) เจ้าอาวาสวัดรัตนาภิมุข (วัดปากเหมือน) นามเดิม เอก ทองหนัน เกิด เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๔๕๙ โยมบิดามารดาชื่อ นายหลบ นางเขียด ทองหนัน มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันรวม ๕ คน บ้านเดิมอยู่ที่ หมู่ ๖ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูบริสุทธิศีลาจารย์ (หลวงปู่ลบ) : ผู้สร้างโรงเรียนแห่งแรกของเมืองตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูบริสุทธิศีลาจารย์ (หลวงปู่ลบ) : ผู้สร้างโรงเรียนแห่งแรกของเมืองตรัง

หลวงปู่ลบ เป็นบุตรขุนรามสุรเดช(ปาน) และนางปราง เกิดเมื่อ ๒๔ กรกฎาคม ๒๓๙๗ ที่ตำบลบางหมาก อำเภอกันตัง บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๒ ปี เมื่ออายุ ๑๙ ปี ลาสิกขาบทเข้ารับราชการเป็นเสมียนตรี ๒ ปี ต่อมาบิดาถึงแก่กรรม จึงเข้าอุปสมบทเป็นภิกษุ ณ วัดควนธานี