iamtrang.com

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางวัฒนธรรม-ณรงค์ จันทร์พุ่ม : ตะลุงบัณฑิต

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางวัฒนธรรม-ณรงค์ จันทร์พุ่ม : ตะลุงบัณฑิต

ย้อนหลังไปกว่า 20 ปี ขาวตรัง และจังหวัดใกล้เคียง จะได้ยินชื่อนายหนังตะลุง เรียกกันว่าตะลุงบัณฑิตหรืออาจารย์หนังณรงค์ จันทร์พุ่ม ซึ่งเป็นครูโรงเรียนวิเชียรมาตุจังหวัดตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางวัฒนธรรม-เติม อ๋องเซ่ง : มโนราห์เติม บ้านเดิมอยู่ตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางวัฒนธรรม-เติม อ๋องเซ่ง : มโนราห์เติม บ้านเดิมอยู่ตรัง

ตรงแผ่นหินอ่อนหน้าบัวหรือที่เก็บกระดูกของยอดศิลปินภาคใต้ ณ วัดโคกสมานคุณอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา มีคำจารึกเป็นคำกลอนคำประพันธ์ของ ก. ศรนรินทร์หรือพระราชรัตนดิลกขึ้นต้นบทแรกว่า อันนายเติมอ๋องเซ่งเก่งโวหาร ปฏิภาณกลอนศัพท์ขับคำขวัญ มโนราห์ชั้นนำคนสำคัญ พรสวรรค์สรรค์ให้จึงได้เป็น

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ดำรงค์ สินไชย : ครูเกษตร ผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ดำรงค์ สินไชย : ครูเกษตร ผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น

ดำรงค์ สินไชย เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2495 ที่จังหวัดตรังเป็นบุตรคนโตของนายช้อยและนางฉั้นสินไชยจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 7 จากโรงเรียนตรังวิทยามัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนวิเขียรมาตุชั้นมัธมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนเกษตรกรรมตรังประกาศนียบัตรครูมัธยมเกษตรกรรมจากวิทยาลัยเกษตรกรรมบางพระปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต (ศึกษาสาสตร์ – เกษตร) และวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ ยกส้าน : นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของสภาวิจัยแห่งชาติ

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ศาสตราจารย์ ดร.สุทัศน์ ยกส้าน : นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของสภาวิจัยแห่งชาติ

เกิดเมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม 2488 ที่จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 7 คนของนายยงจินต์ แล นางจุ้ยหิ้น ยกส้าน เจ้าศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนอนุกูลสตรีและมัธยมต้นจากโรงเรียนวิเชียรมาตุจังหวัดตรัง เข้าศึกษาต่อมัธยมตอนปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษากรุงเทพฯ ในระหว่างปี 2504-2506 ต่อจากนั้นสอบเข้าเรียนในคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ระหว่างปี 2506-2507

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-แสวง ภูศิริ : นักวิชาการเกษตร

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-แสวง ภูศิริ : นักวิชาการเกษตร

แสวง ภูศิริ นักวิชาการเกษตรจากลุ่มน้ำบางปะกงผู้มีสายเลือดแห่งความเป็นเกษตรกรอย่างแท้จริงยึดมั่นในความคิดว่าผู้มีความรู้ความสามารถด้านการเกษตรควรออกไปทำการเกษตรอย่างจริงจังทั้งนี้เพื่อใช้ความรู้เป็นแบบอย่างของชาวบ้านแนวคิดนี้ของเขาสามารถนำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจรังและได้ผล

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ขำ นุชิตศิริภัทรา : เกษตรกรดีเด่นจังหวัดตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-ขำ นุชิตศิริภัทรา : เกษตรกรดีเด่นจังหวัดตรัง

นายขำ เกิดที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2482 บิดาชื่อนายเต็กหว่า แซ่หลีมารดาชื่อนางนะ แซ่หลี มีพี่น้องจำนาน 5 คน ภรรยาชื่อนางอังกาบ มีบุตรชาย 4 คนหญิง 1 คน เมื่ออายุได้ 8 ขวบก็ถูกส่งไปอยู่กับนายสีหมู่แซ่ภู่ผู้เป็นปู่หรือ“ก๋ง”ซึ่งเป็นเจ้าของสวนยางกว่า 200 ไร่ นายขำ ต้องตื่นแต่เช้าตรู่ไปเก็บเศษยางและเก็บน้ำยางจากต้นยางถึง 200 ต้น

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-สุรินทร์ โตทับเที่ยง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-สุรินทร์ โตทับเที่ยง

ช่วงปีพ.ศ. 2502 – 2503 เกิดวิกฤติเศรษฐกิจตกต่ำ สุรินทร์ โตทับเที่ยง ได้มีโอกาสเดินทางเข้ากรุงเทพฯมีคนถามว่า“เมืองตรังอยู่ที่ไหน?” นั่นคือแรงบันดาลใจและที่มาของคำประกาศจากใจของยาสุรินทร์โตทับเที่ยงที่ว่า “ถ้าวันหนึ่งมีโอกาสท่จะช่วยสังคมได้ … จะทำให้เขารู้จักเมืองตรัง”

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-บู นวลศรี : ปราชญ์ชาวบ้านตรังเล

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-บู นวลศรี : ปราชญ์ชาวบ้านตรังเล

บ้านแหลมมะขาม อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง หมู่บ้านประมงพื้นบ้านแบบยังชีพได้ถูกกระแสประมงพาณิชย์เพื่อการส่งออกขับเคลื่อนเรืออวนลากอวนรุนและสารพัดเครื่องมือจับปลาแบบล้างผลาญเข้ามาทำการประมง ทุกชายหาดอ่าวบางคลองยังผลให้แนวหญ้าทะเลเขตน้ำตื้นแนวหินปะการังน้ำตื้น

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พิสิษฐ์ ชาญเสนาะ : นักพัฒนาองค์กรเอกชน นายกสมาคมหยาดฝนจังหวัดตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พิสิษฐ์ ชาญเสนาะ : นักพัฒนาองค์กรเอกชน นายกสมาคมหยาดฝนจังหวัดตรัง

พิสิษฐ์ ชาญเสนาะ เกิดวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๗ เริ่มทำงานด้านการพัฒนาชนบท หลังจากเรียนจบคณะเกษตรศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เริ่มทำงานกับมูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ในตำแหน่ง บูรณกร (Rural Worker) จังหวัดชัยนาท เป็นผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาชนบทหลายแห่ง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูสุทธิโสภณ (เอก สิรินธโย) : พระนักพัฒนาชุมชน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูสุทธิโสภณ (เอก สิรินธโย) : พระนักพัฒนาชุมชน

พระครูสุทธิโสภณ (เอก สิรินธโร) เจ้าอาวาสวัดรัตนาภิมุข (วัดปากเหมือน) นามเดิม เอก ทองหนัน เกิด เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๔๕๙ โยมบิดามารดาชื่อ นายหลบ นางเขียด ทองหนัน มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันรวม ๕ คน บ้านเดิมอยู่ที่ หมู่ ๖ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูบริสุทธิศีลาจารย์ (หลวงปู่ลบ) : ผู้สร้างโรงเรียนแห่งแรกของเมืองตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางพัฒนาสังคม-พระครูบริสุทธิศีลาจารย์ (หลวงปู่ลบ) : ผู้สร้างโรงเรียนแห่งแรกของเมืองตรัง

หลวงปู่ลบ เป็นบุตรขุนรามสุรเดช(ปาน) และนางปราง เกิดเมื่อ ๒๔ กรกฎาคม ๒๓๙๗ ที่ตำบลบางหมาก อำเภอกันตัง บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๒ ปี เมื่ออายุ ๑๙ ปี ลาสิกขาบทเข้ารับราชการเป็นเสมียนตรี ๒ ปี ต่อมาบิดาถึงแก่กรรม จึงเข้าอุปสมบทเป็นภิกษุ ณ วัดควนธานี

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-พร ศรีไตรรัตน์ : จากชีวิตครู ถึงผู้แทนชาวบ้าน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-พร ศรีไตรรัตน์ : จากชีวิตครู ถึงผู้แทนชาวบ้าน

นายพร  ศรีไตรรัตน์  หรือครูพร  ยึดถือคุณธรรมเป็นหลัก  มีจิตควิญญาณของความเป็นครูอย่างเต็มเปี่ยมปฎิบัติตนเป็นตัวอย่างแก่ชนรุ่นหลัง  และเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่า  ครูพรทำได้  จึงไม่แปลกที่ครูพรจะเป็นที่รักและได้รับความนับถือจากครูตรังและคนตรังทั้งจังหวัด  นายพร  ศรีไตรรัตน์  เกิดเมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๔๕๖  ที่บ้านท่าพญา ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง  เดิมชื่อ เจ้ง  สร้างตั้น  เป็นบุตรคนโตของนายเลี่ยง  นางติ้ว  ศรีไตรรัตน์  มีน้องชายหญิงรวม ๓ คน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-มงคล ณ นคร : นักสู้เพื่อประชาชน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-มงคล ณ นคร : นักสู้เพื่อประชาชน

มงคล ณ นคร เกิดเมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๕ ที่จังหวัดภูเก็ต เป็นบุตรของนายหิรัญ นางละม่อม ณ นคร สมรสกับนางประจวบ ณ นคร มีบุตร หนึ่งคน คือนางประคอง กันตังกุล (สมรสกับ นายสมนึก กันตังกุล) จบการศึกษาชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ จากโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย แล้วเข้าทำงานโรงสีที่อำเภอกันตัง และตั้งเตาเผาถ่านที่ตำบลทุ่งกระบือ อำเภกย่านตาขาว

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-ก่อเกียรติ ษัฏเสน : ผู้ยืนอยู่ข้างประชาชน

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-ก่อเกียรติ ษัฏเสน : ผู้ยืนอยู่ข้างประชาชน

พ่อนึกถึงภาพของลูกพ่อตอนไปยืนแถวหน้าร้านของเหล่าพวกผู้ดีมีทรัพย์เหล่านั้นแล้ว พ่อรู้สึกสะท้อนใจอย่างแรง ตัวเตี้ยๆ หน้าแป้นๆ จมูกเล็กๆ ผิวละเอียด เป็นลูกผู้ดีมีสกุล ในมือถือตะกร้าไข่ไก่ เข้าร้านนี้ออกร้านโน้น ปากบอกราคาไข่ ส่อถึงฐานะทางบ้านว่าค่อนข้างอัตคัดอยู่ ส่วนเสื้อผ้าที่ใส่นั้นเล่า ก็คือชุดนักเรียนเก่าๆ มอๆ นั้นเองเพราะพ่อเข้าเป็นนักการเมืองฝ่ายค้านที่มีหัวออกจะรุนแรงเอามากๆ

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-จัง จริงจิตร : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของจังหวัด

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-จัง จริงจิตร : สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของจังหวัด

นายจัง  จริงจิตร  เกิดเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๐  ที่ตำบลโคกขัน  อำภอเมือง  จังหวัดตรัง  เป็นบุตรของนายหงวน  นางพริ้ม  จริงจิตร  ภนนยาชื่อ  นางกี่  จริงจิตร  (เซ่งยี่)  บิดาอพยพมาจากเมืองจีน ตั้งรกรากทำมาหากินอยู่ที่ตำบลบางรัก เมื่ออายุได้ประมาณ ๗ – ๙ ขวบ  ได้เรียนภาษาจีนที่บ้านบ่อพร้าว  ตำบลบ้านโพธิ์ และที่บ้านสวนจันทร์ ตำบลโคกขัน  และเรียนภาษาไทย  เมื่ออายุได้  ๑๑  ขวบ  ที่วัดโคกหล่อ(วัดนิยมประทีป)

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-ชวน หลีกภัย : นายกรัฐมนตรีจากสามัญชนชาวตรัง

บุคคลผู้มีชื่อเสียงทางการเมือง-ชวน หลีกภัย : นายกรัฐมนตรีจากสามัญชนชาวตรัง

นายชวน  หลีกภัย  นายกรัฐมนตรีคนที่ ๒๐ ของประเทศไทย  เป็นสายเลือดตรัง  ที่สามารถก้าวเข้าสู่ระดับผู้นำฝ่ายบริหารของประเทศ  นายชวนเป็นสัญลักษณ์ของบุคคลในอุดมคติของชาวตรัง  แสดงถึงค่านิยมของชาวตรังในการเลือกผู้แทนราษฎร  ซึ่งนายประยูร  จรรยาวงษ์  นักเขียนการ์ตูนชื่อดังรางวัลแมกไซไซเคยกล่าวชื่นชมไว้ว่า  ผมภาคภูมิใจท้ายแทนคนตรังที่มี ส.ส. อย่างคุณชวน  หลีกภัย

บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์-พระยาตรัง : กวีในประวัติศาสตร์

บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์-พระยาตรัง : กวีในประวัติศาสตร์

…ทั้งเมืองตรังและเมืองภูรา แต่เดิมมามีผู้รักษาเมือเมืองละคน ครั้นต่อมาโปรดเกล้าฯ ให้พระภักดีบริรักษ์(นายจันมีชื่อมหาดเล็ก) ผู้ช่วยราชการเมืองนครศรีธรรมราช ออกไปเป็นผู้รักษาเมืองตรัง พระภักดีบริรักษ์ได้กราบทูลขอยกเอาเมืองตรังกับเมืองภูราเข้าเป็นเมืองเดียวกัน เรียกว่า เมืองตรังภูรา…

เล่าเรื่องเมืองตรัง โดย อาจารย์สุพรรณ วังกุลางกูร

เล่าเรื่องเมืองตรัง โดย อาจารย์สุพรรณ วังกุลางกูร

จังหวัดตรัง เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ ด้านฝั่งทะเลอันดามัน ที่ตั้งตามพิกัดทางภูมิศาสตร์ เส้นแวงที่ 99 องศา 37 ลิปดาตะวันออก เส้นรุ้งที่ 7 องศา 34 ลิปดาเหนือ แบ่งการปกครองออกเป็น 10 อำเภอ 87 ตำบล 711 หมู่บ้าน ประชากร 579,361 คน มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน แต่เนื่องจาก ตรังไม่ได้เป็นเมืองรับทัพจับศึก จึงไม่ค่อยมีชื่อในทางประวัติศาสตร์เท่าใดนัก แต่ที่จริงตรังเป็นชุมชนมานานแล้ว มีหลักฐานพอจะอ้างอิงได้ ตั้งแต่ยุคหินใหม่ เป็นต้นมา

ประวัติ-เมืองตรังหลัง พ.ศ. 2475

ประวัติ-เมืองตรังหลัง พ.ศ. 2475

2.12 เมืองตรังหลัง พ.ศ. 2475 การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 และการพระราชทานรัฐธรรมนูญทำให้มีการเลือกตั้งครั้งแรกในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2576 การเลือกผู้แทนราษฎรในสมัยนั้นใช้วิธีเลือกโดยอ้อม คือราษฎรของแต่ละตำบลจะเลือกตัวแทนของตนเข้าไปเลือกผู้ที่สมัครรับเลือกตั้งที่จังหวัดอีกชั้นหนึ่ง การเลือกตั้งคราวนั้นจังหวัดตรังได้ผู้แทนราษฎรคนแรกคือ นายจัง จริงจิตร จากการเปลี่ยนแปลงปกครองทำให้มีการกระจายอำนาจมาสู่ท้องถิ่นมีประกาศให้พระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 ที่อำเภอทับเที่ยง ตามประกาศลงวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 ต่อมาก็ยกฐานะเป็นเทศบาลตามราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองตรัง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478 มีหลวงวิชิตภักดีเป็นนายกเทศมนตรีคนแรก ต่อมามีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นเทศบาลได้...

ประวัติ-เมืองตรังที่ทับเที่ยง

ประวัติ-เมืองตรังที่ทับเที่ยง

2.11 เมืองตรังที่ทับเที่ยง วันที่ 1 มกราคม 2458 เมืองตรังได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ย้ายไปตั้งที่ตำบลทับเที่ยง อำเภอบางรัด ด้วยเหตุผลหลายประการ ได้แก่ ที่กันตังไม่ปลอดภัยจากศึกสงครามเพราะในขณะนั้นกำลังเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งอยู่ในกลุ่มที่ลุ่มมักเกิดอหิวาตกโรคทุกปี พื้นที่แคบทำให้การขยายตัวของเมืองเป็นไปได้ยาก และไม่เป็นย่านกลางติดต่อราชการเหมือนที่ตำบลทับเที่ยง ซึ่งมีผู้คนมากและการค้าเจริญกว่าตำบลอื่นๆ ในสมัยนี้เมืองตรังยังเป็นส่วนหนึ่งของมณฑลภูเก็ต มีนายพลโทพระยาสุรินทราชา (ม.ร.ว.สิทธิ์ สุทัศน์ ณ อยุธยา) เป็นสมุหเทศาภิบาล (เดิมเรียกชื่อตำแหน่งข้าหลวงเทศาภิบาล เพิ่งเปลี่ยนแปลง ใน พ.ศ. 2456) ใน พ.ศ. 2460 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เสด็จพระราชดำเนินเมืองตรังอีกครั้งหนึ่ง ในครั้งนี้ได้ทรงทำพิธีเปิดโรงเรียนวิเชียรมาตุในวันที่...